Best Practices
การนำองค์ความรู้ EF ไปใช้ในการสร้างสรรค์งานของศึกษานิเทศก์ และผู้บริหารสถานศึกษา
นายสวัสดิ์ เมฆสุนทร ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองโพธิ์ จ.นครราชสีมา
ผอ.สวัสดิ์ได้รับการแนะนำจากอาจารย์วิเชียร ไชยบัง โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา ให้รู้จัก EF รวมทั้งได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง EF ในการประชุมเครือข่ายโรงเรียนพัฒนาตนเอง(TSQP)อยู่เสมอ และเข้ารับการอบรมกับสถาบัน RLG เพิ่มเติม แล้วเห็นว่า EF...
นายจรูญ น้อยสำราญ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองบอน จ.ตราด
โรงเรียนบ้านหนองบอนเป็นโรงเรียนหนึ่งในเครือข่ายโรงเรียนพัฒนาตนเอง (TSQD) กสศ.ซึ่งทำให้ผอ.จรูญได้เริ่มรู้จัก EF แล้วทำให้อยากรู้ว่า EF คืออะไร เมื่อพบว่าสถาบัน RLG มีการอบรมเรื่องนี้จึงสมัครเข้ารับอบรมพร้อมครูอนุบาล 2 คน แล้วได้เห็นว่า EF...
นางพิฐชญาณ์ ไพรดำ ศึกษานิเทศก์ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลพบุรี
ศน.พิฐชญาณ์ได้เข้าร่วมอบรม EF กับสถาบัน RLG เมื่อ 26 -28 พฤศจิกายน 2561 ที่มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ รู้สึกว่าเป็นความรู้ใหม่ที่น่าสนใจ จนตั้งเป้าไว้ว่าจะต้องทำให้ครูมีการพัฒนา EF ให้เด็กเป็นเป้าหมาย และ ครูต้องออกแบบการเรียนการสอนให้เอื้อต่อการพัฒนา EF มากที่สุด...
Best Practice : การนำองค์ความรู้ EF ไปใช้ในการสร้างสรรค์งานของศึกษานิเทศก์ และผู้บริหารสถานศึกษา
การนำองค์ความรู้ EF ไปใช้ในการสร้างสรรค์งานของศึกษานิเทศก์ และผู้บริหารสถานศึกษา
นางสาววิริยา บาลตำบล ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สพป.สกลนคร เขต 3
สืบเนื่องจากคู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF สำหรับครูปฐมวัย ที่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.)ส่งมาให้กลุ่มงานส่งเสริมการศึกษาแจกตามโรงเรียนและศน.วิริยาร่วมดำเนินการแจกด้วย ทำให้ศน.วิริยาเกิดความสนใจเรื่อง EF...
นางสุภัคร พุทธานุ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สพป. สุรินทร์ เขต 2
เมื่อได้รับการอบรมความรู้เรื่อง EF แล้วศน.สุภัคร พุทธานุ ในฐานะผู้ดูแลรับผิดชอบเรื่องการศึกษาปฐมวัย เห็นว่าความรู้ EF เป็นแนวทางที่สอดรับกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยมากที่สุด และยังสอดคล้องเข้ากับแนวนโยบายหลักจากกระทรวงฯ รวมถึงหลักสูตรปฐมวัย และหลักสูตรฐานสมรรถนะ...
นางบุปผา บุญพูล ศึกษานิเทศก์ชำนาญการ สพป.กาญจนบุรี เขต 4
ศน.บุปผารู้จักเรื่อง EF จากการเข้าอบรมเกี่ยวกับเรื่องยาเสพติด ที่ศธจ.จัดร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ต่อมาเข้าอบรมเรื่อง EF ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรีจัดอบรมให้ครูปฐมวัยของโรงเรียนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา แล้วเห็นว่ามีประโยชน์กับเด็กและโรงเรียนอย่างมาก...
นางกังสดาล แจ้งมณี ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สพป.เชียงราย เขต 2
จากการรับผิดชอบงานการศึกษาปฐมวัย ศน.กังสดาลพบว่า ผลสรุปในทุกสิ้นปีการศึกษา เด็กปฐมวัยของโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 2 มีผลพัฒนาการด้านสติปัญญาต่ำกว่าพัฒนาการด้านอื่นๆ และเมื่อได้รับความรู้เรื่อง EF จึงเห็นว่าควรต้องพัฒนาทักษะสมอง EF ให้เด็กปฐมวัย...
นางสาวปวีณา ธิติวรนันท์ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สธจ. สุพรรณบุรี
จากการเข้าอบรม “โครงการอบรมศึกษานิเทศก์และผู้บริหารโรงเรียนเพื่อพัฒนาความรู้ทักษะสมอง EF และการใช้เครื่องมือเพื่อส่งเสริม EF ของเด็กปฐมวัย รุ่นที่ 2” และเข้าร่วมกิจกรรม “โครงการถอดบทเรียนศึกษานิเทศก์และผู้บริหารโรงเรียน” ทำให้...
นางปิยะนุช ไชยสมทิพย์ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สธจ. น่าน
เมื่อได้รับความรู้เรื่องทักษะสมอง EF และเห็นความสำคัญของ EF แล้ว ศน.ปิยะนุชจึงคิดขับเคลื่อนความรู้ EF ในจังหวัดน่าน ในขณะเดียวกันก็เป็นหลักในการจัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับจังหวัด ซึ่งประกอบด้วยบุคลากรสังกัดต่างๆ 4 กระทรวง...
นายจิตกร มาแก้ว ศึกษานิเทศก์ชำนาญการ สพป.ระยอง เขต 1
เดิม ศน.จิตกร มาแก้ว เป็นครูซึ่งได้รับการอบรมครูแกนนำ EF แล้วมาเป็นวิทยากร EF ต้นแบบของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) ให้ความรู้ EF แก่ครู ก.ในภาคตะวันออก อบรมครูปฐมวัยทั้งจังหวัด เมื่อมาเป็นศน. ก็เข้าร่วมการขับเคลื่อน EF...
นางบุญลักษณ์ อึ้งชัยพงษ์ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สธจ. กำแพงเพชร
หลังจากได้รับการอบรมความรู้เรื่องทักษะสมองEFศน.บุญลักษณ์ก็สร้างคณะทำงานขับเคลื่อนEF จังหวัดกำแพงเพชรซึ่งประกอบด้วยบุคลากรที่ได้รับการอบรมความรู้ EF มาแล้วเช่นกัน เป็นคณะทำงานที่เข้มแข็ง มีความรู้ความเข้าใจ EF ร่วมกันขับเคลื่อน EF อย่างเข้มแข็ง กระตือรือร้น ...
นายพงษ์พันธุ์ ไชยบุญเรือง ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สพป. เชียงราย เขต 4
ศน.พงษ์พันธุ์ ไชยบุญเรือง เริ่มสนใจเรื่องทักษะสมอง EF จากสื่อ (กล่องล้อมรัก) ที่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด(ป.ป.ส.)จัดมอบให้แจกตามโรงเรียน ต่อมาเข้ารับการอบรมเรื่อง EF กับสถาบัน RLG ที่จัดอบรมให้ครู...
Executive Functions
“เราเห็นว่าประสบการณ์ในช่วงปฐมวัย
มีความสำคัญเพียงไรต่อสิ่งที่จะเกิดขึ้นตามมาตลอดชีวิต
ทั้งเห็นสภาพแวดล้อมในช่วงปฐมวัยได้ฝังลงใน “สมองของเด็ก”
และเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสมองไปอย่างไร”
Andrew S. Garner, developingchild, havard.edu