โดย ดร.ปิยวลี และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร | เม.ย. 18, 2022 | บทความ
เด็กแบเบาะก็เรียนรู้จักอารมณ์ได้ อย่าละเลยที่จะสอนเด็กเล็กๆ ให้รู้จักอารมณ์ ทักษะอารมณ์เป็นทักษะที่สำคัญและเป็นพื้นฐานของทักษะสังคม ส่งผลซึ่งกันและกัน แต่ผู้ใหญ่มักมองข้ามและไม่ได้ส่งเสริมเด็ก เพราะเข้าใจว่าจะเกิดขึ้นเองเมื่อเด็กโตขึ้น ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ผิด...
โดย ปรารถนา หาญเมธี | เม.ย. 3, 2022 | บทความ
กระบวนการทำงานของสมองซับซ้อน และอาศัยการเชื่อมประสานกันระหว่างสมองหลายส่วนที่ทำหน้าที่แตกต่างกันไป ในขณะที่สมองบริเวณท้ายทอยกำกับการทำงานระบบพื้นฐานของร่างกาย ตั้งแต่ระบบหายใจ ระบบย่อยอาหาร การสืบพันธุ์ อุณหภูมิรวมทั้งการทรงตัวของร่างกาย...
โดย ปรารถนา หาญเมธี | เม.ย. 2, 2022 | บทความ
วัยรุ่นคือช่วงสะพานของชีวิตที่เชื่อมต่อระหว่างวัยเด็กกับวัยผู้ใหญ่ ชีวิตช่วงวัยรุ่นเริ่มต้นที่อายุ 10-12 ปี สิ้นสุดประมาณ 21-25 ปี ชีวิตช่วงนี้เป็นชีวิตที่ชวนน่าสับสน เต็มไปด้วยความโกลาหล สุดเหวี่ยง ขณะเดียวกันก็มีชีวิตชีวาอย่างยิ่ง...
โดย ปรารถนา หาญเมธี | มี.ค. 29, 2022 | บทความแปล
การเปลี่ยนมุมมองต่อการเสพติดว่าเป็นโรคของสมอง NIDA และสำนักงาน National Drug Control Policy ของสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นหน่วยงานที่ศึกษาวิจัยเรื่องการเสพติดมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เห็นพ้องกันว่าตลอดศตวรรษที่แล้ว...
โดย ปรารถนา หาญเมธี | มี.ค. 21, 2022 | บทความแปล, สาระ EF
เมื่อต้องส่งลูกเข้าสถานพัฒนาเด็ก การส่งเด็กเข้าสถานรับเลี้ยงเด็ก เป็นหนึ่งในหัวข้อที่มีการกล่าวถึงมากที่สุด ในประวัติศาสตร์ของ จิตวิทยาพัฒนาการ การอภิปรายเกี่ยวกับสถานรับเลี้ยงเด็กเกิดขึ้นครั้งแรกในโลกตะวันตก เมื่อผู้หญิงเริ่มต่อสู้เพื่อ สิทธิในการทำงาน ...