โดย ดร.ปิยวลี และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร | เม.ย. 18, 2022 | บทความ
ลูกจะมีทักษะสมอง EF ดี พ่อแม่ต้องมีทักษะสมอง EF ดีด้วย ลูกจะมีทักษะสมอง EF ที่ดี พ่อแม่ต้องใช้หลักการวินัยเชิงบวก และพ่อแม่จะใช้วินัยเชิงบวกได้ดี พ่อแม่ก็ต้องมีทักษะสมอง EF ที่ดีด้วย ทักษะสมอง EF ด้านที่สำคัญที่สุดที่พ่อแม่ต้องมี คือ Cognitive Flexibility...
โดย ดร.ปิยวลี และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร | เม.ย. 18, 2022 | บทความ
ขั้นตอนพัฒนาการจากวัยเด็กสู่วัยรุ่นตามทฤษฎีอีริคสัน พ่อแม่หรือครูควรเข้าใจเรื่องพัฒนาการ เรื่องความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ เรื่อง Self การทำงานของสมอง 3 ส่วน และเรื่องทักษะสมอง EF ด้วย จึงจะสามารถพัฒนาเด็กคนหนึ่งให้เติบโตไปเป็นคนที่เห็นคุณค่าของตัวเอง...
โดย ดร.ปิยวลี และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร | เม.ย. 18, 2022 | บทความ
พฤติกรรมไม่ดี เด็กดื้อ เกิดจากอะไร ภาพนี้แสดงให้เห็นถึงกระบวนการทำงานร่วมกันของสมอง จิตใจ และพฤติกรรมมนุษย์ จะเห็นว่าก่อนที่เด็กคนหนึ่งจะแสดงพฤติกรรมอะไรออกมา มีเรื่องของจิตใจ (Mind) เข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ คือเด็กต้องรู้สึกอะไรบางอย่างก่อนจะแสดงออกมาเป็นพฤติกรรม...
โดย ดร.ปิยวลี และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร | เม.ย. 18, 2022 | บทความ
การใช้อำนาจในห้องเรียนกระทบ Self และการเรียนรู้ของเด็ก เมื่อเด็กรู้สึกปลอดภัย อารมณ์สงบ เด็กจะเรียนรู้ได้ดี พัฒนาการดี แต่การจะทำให้ห้องเรียนปลอดภัย ส่วนใหญ่ทำกันเพียงทางด้านกายภาพเท่านั้น เด็กยังไม่รู้สึก “อบอุ่นปลอดภัย” เพราะครูยังใช้อำนาจ ใช้อารมณ์ มากกว่าให้โอกาส...
โดย ดร.ปิยวลี และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร | เม.ย. 18, 2022 | บทความ
สอนเด็กรู้จักอารมณ์ตัวเอง สร้าง Self และทักษะสังคม การที่ผู้ใหญ่สะท้อนอารมณ์ของเด็ก บอกให้เด็กรู้ว่าตัวเด็กกำลังรู้สึกอย่างไร จะทำให้เด็กรู้สึกมี Self มีตัวตน เพราะความรู้สึกนึกคิดและสิ่งที่เขาแสดงออกมานั้น ผู้ใหญ่เห็น ได้ยิน ให้ความสนใจ...
โดย ดร.ปิยวลี และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร | เม.ย. 18, 2022 | บทความ
เด็กแบเบาะก็เรียนรู้จักอารมณ์ได้ อย่าละเลยที่จะสอนเด็กเล็กๆ ให้รู้จักอารมณ์ ทักษะอารมณ์เป็นทักษะที่สำคัญและเป็นพื้นฐานของทักษะสังคม ส่งผลซึ่งกันและกัน แต่ผู้ใหญ่มักมองข้ามและไม่ได้ส่งเสริมเด็ก เพราะเข้าใจว่าจะเกิดขึ้นเองเมื่อเด็กโตขึ้น ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ผิด...