โดย ปรารถนา หาญเมธี | พ.ค. 19, 2022 | บทความแปล
พัฒนา EF ด้วยการเล่นอย่างเป็นระบบ สมองส่วนหน้าบริเวณหลังหน้าผาก เป็นสมองส่วนของการคิดขั้นสูงที่มีทักษะเชิงบริหารจัดการ (Executive Function: EF) ที่ทำงานกำกับการวางแผนและกำกับการกระทำของเราเกี่ยวข้องกับความคิด อารมณ์ที่เกิดขึ้น โดยมีทักษะพื้นฐานของสมองส่วนนี้อยู่ 3...
โดย ปรารถนา หาญเมธี | พ.ค. 19, 2022 | บทความแปล
EF ดี : “ยั้ง” ได้เพราะไตร่ตรอง ใช่ถูกบังคับ ทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function: EF) พื้นฐานที่สำคัญยิ่งทักษะหนึ่งคือ ทักษะยั้งคิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) อันเป็นความสามารถในการหยุดหรือยั้งความคิด ความสามารถนี้เกิดขึ้นและพัฒนาตั้งแต่ช่วงแรกเกิดของชีวิต...
โดย ปรารถนา หาญเมธี | พ.ค. 17, 2022 | บทความแปล
ออกกำลังกายแล้ว สมองดีมี EF? “การออกกำลังกาย” เป็นยาแขนงวิเศษ ที่ไม่ต้องจ่ายเงินไปหาหมอ เป็นวิธีที่ง่ายและประหยัด การออกกำลังกายเคลื่อนไหวไม่เพียงลดความเสี่ยงของโรคที่ไม่ติดต่อ ยังช่วยทำให้สมองมีประสิทธิภาพดี กิจกรรมทางกาย การเคลื่อนไหวของร่างกาย...
โดย ดร.ปิยวลี และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร | เม.ย. 18, 2022 | บทความ
พฤติกรรมไม่ดี เด็กดื้อ เกิดจากอะไร ภาพนี้แสดงให้เห็นถึงกระบวนการทำงานร่วมกันของสมอง จิตใจ และพฤติกรรมมนุษย์ จะเห็นว่าก่อนที่เด็กคนหนึ่งจะแสดงพฤติกรรมอะไรออกมา มีเรื่องของจิตใจ (Mind) เข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ คือเด็กต้องรู้สึกอะไรบางอย่างก่อนจะแสดงออกมาเป็นพฤติกรรม...
โดย ดร.ปิยวลี และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร | เม.ย. 18, 2022 | บทความ
สอนเด็กรู้จักอารมณ์ตัวเอง สร้าง Self และทักษะสังคม การที่ผู้ใหญ่สะท้อนอารมณ์ของเด็ก บอกให้เด็กรู้ว่าตัวเด็กกำลังรู้สึกอย่างไร จะทำให้เด็กรู้สึกมี Self มีตัวตน เพราะความรู้สึกนึกคิดและสิ่งที่เขาแสดงออกมานั้น ผู้ใหญ่เห็น ได้ยิน ให้ความสนใจ...