โดย ปรารถนา หาญเมธี | พ.ค. 17, 2022 | บทความแปล
ทักษะอารมณ์และสังคมกับทักษะสมอง EF พัฒนาการทางอารมณ์และการควบคุมอารมณ์เกี่ยวข้องกับทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function: EF) การพัฒนาทักษะอารมณ์และสังคมหมายถึง การมีทักษะสังเกตตนเอง การตระหนักรู้ถึงสภาวะอารมณ์ที่ตนเองเป็นอยู่...
โดย ดร.ปิยวลี และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร | เม.ย. 18, 2022 | บทความ
ลูกจะมีทักษะสมอง EF ดี พ่อแม่ต้องมีทักษะสมอง EF ดีด้วย ลูกจะมีทักษะสมอง EF ที่ดี พ่อแม่ต้องใช้หลักการวินัยเชิงบวก และพ่อแม่จะใช้วินัยเชิงบวกได้ดี พ่อแม่ก็ต้องมีทักษะสมอง EF ที่ดีด้วย ทักษะสมอง EF ด้านที่สำคัญที่สุดที่พ่อแม่ต้องมี คือ Cognitive Flexibility...
โดย ดร.ปิยวลี และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร | เม.ย. 18, 2022 | บทความ
พฤติกรรมไม่ดี เด็กดื้อ เกิดจากอะไร ภาพนี้แสดงให้เห็นถึงกระบวนการทำงานร่วมกันของสมอง จิตใจ และพฤติกรรมมนุษย์ จะเห็นว่าก่อนที่เด็กคนหนึ่งจะแสดงพฤติกรรมอะไรออกมา มีเรื่องของจิตใจ (Mind) เข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ คือเด็กต้องรู้สึกอะไรบางอย่างก่อนจะแสดงออกมาเป็นพฤติกรรม...
โดย ดร.ปิยวลี และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร | เม.ย. 18, 2022 | บทความ
สอนเด็กรู้จักอารมณ์ตัวเอง สร้าง Self และทักษะสังคม การที่ผู้ใหญ่สะท้อนอารมณ์ของเด็ก บอกให้เด็กรู้ว่าตัวเด็กกำลังรู้สึกอย่างไร จะทำให้เด็กรู้สึกมี Self มีตัวตน เพราะความรู้สึกนึกคิดและสิ่งที่เขาแสดงออกมานั้น ผู้ใหญ่เห็น ได้ยิน ให้ความสนใจ...
โดย ปรารถนา หาญเมธี | เม.ย. 5, 2022 | บทความแปล
การเลี้ยงดูบนฐานการส่งเสริมและพัฒนา “จุดแข็ง” กับความเครียดของเด็ก ความเครียดเป็นปฏิกิริยาของสิ่งมีชีวิต ที่แสดงพฤติกรรมต่อสิ่งเร้าที่คุกคามความอยู่ดีมีสุขเป็นปกติ ความเครียดมักเกิดจากความต้องการกับทรัพยากรที่มีอยู่ไม่สมดุลกัน คนที่เครียดนั้นเกิดจากความรับรู้ว่า...