บทความ
Executive Functions

”คิดเป็น ทำเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น
อยู่กับคนอื่นเป็นและมีความสุขเป็น”

วินัยเชิงบวกดีกว่าการสั่งบังคับอย่างไร อธิบายได้ด้วย Neuroscience

วินัยเชิงบวกดีกว่าการสั่งบังคับอย่างไร อธิบายได้ด้วย Neuroscience พ่อแม่หรือครูแค่รู้วิธีการใช้วินัยเชิงบวกอย่างเดียวไม่พอ แต่ต้องเข้าใจไปถึงเรื่องพัฒนาการของเด็ก การทำงานของสมองในแต่ละช่วงวัย เช่น พัฒนาการของเด็กตอนนั้น ภาวะจิตใจอยู่ในขั้นตอนใด...

อ่านเพิ่มเติม

เทคนิค “วินัยเชิงบวก” ฝึกเด็กให้มีวินัยด้วยตัวเอง

เทคนิค “วินัยเชิงบวก” ฝึกเด็กให้มีวินัยด้วยตัวเอง ในอดีตมีการฝึกวินัยให้กับเด็กด้วยความปรารถนาดี เพื่อให้อยู่ในกติกา อยู่ในสังคมได้ และได้ผล โดยการให้รางวัลหรือลงโทษ เช่น ให้รางวัลด้วยขนม แต้ม หรือดาว และลงโทษถ้าไม่มีวินัยด้วยวิธีการ Time out   สำหรับการให้รางวัล...

อ่านเพิ่มเติม

“ตีเด็ก” การฝึกวินัยที่ไร้ผล

“ตีเด็ก” การฝึกวินัยที่ไร้ผล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร ผู้เชี่ยวชาญการพัฒนาทักษะสมอง EF ด้วยเทคนิควินัยเชิงบวน กล่าวว่า การลงโทษด้วยการตี การดุด่าว่ากล่าว บังคับ ใช้อำนาจ เป็นวิถีการเลี้ยงดูเด็กที่ฝังรากลึกในสังคมไทยกันมาช้านาน...

อ่านเพิ่มเติม

บทความ  EF

หลากหลายบทความชุดความรู้เกี่ยวกับ EF ที่ถูกรวบรวมจากหลากหลายนักวิชาการ เพื่อให้ผู้ที่สนใจนำไปใช้ในการศึกษาต่อไป

สมองของวัยว้าวุ่น

สมองของวัยว้าวุ่น

สมองเป็นอวัยวะที่สำคัญของชีวิต ทำหน้าที่เป็นศูนย์บัญชาการควบคุม สั่งการอวัยวะต่างๆของร่างกายทำงานเพื่อให้มีชีวิตอยู่ได้ ตามวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่เป็นสัตว์ สมองส่วนที่เกิดขึ้นมาก่อนคือสมองส่วนที่เรียกว่า สมองสัตว์เลื้อยคลาน (Reptilian Brain) อยู่บริเวณใกล้ท้ายทอย...

อ่านเพิ่มเติม
ฐานราก 3 มิติในการพัฒนาวัยรุ่น

ฐานราก 3 มิติในการพัฒนาวัยรุ่น

วัยรุ่นคือช่วงสะพานของชีวิตที่เชื่อมต่อระหว่างวัยเด็กกับวัยผู้ใหญ่ ชีวิตช่วงวัยรุ่นเริ่มต้นที่อายุ 10-12 ปี สิ้นสุดประมาณ 21-25 ปี ชีวิตช่วงนี้เป็นชีวิตที่ชวนน่าสับสน เต็มไปด้วยความโกลาหล สุดเหวี่ยง ขณะเดียวกันก็มีชีวิตชีวาอย่างยิ่ง...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

ตระหนักในกฎแห่งการเรียนรู้ของสมอง ทันทีที่เด็กเกิดมา สิ่งที่เกิดขึ้นมาแรกสุกคือการพัฒนาระบบประสาทที่เกี่ยวกับการหายใจ การเต้นของหัวใจ การเคลื่อนไหว การมองเห็น และการได้ยินเสียง ทั้งนี้ทารกแรกเกิดจนถึงอายุหนึ่งขวบนั้นมีจำนวนเซลล์สมอง (Neurons)...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

สามเสาหลัก : การเปลี่ยนผ่านของสมองส่วนอารมณ์สู่เหตุผล Howard Bath นักจิตวิทยาคลีนิกชาวออสเตรเลีย ผู้เขียนหนังสือร่วมกับ John Seita เรื่อง 'The Three Pillars of Transforming Care: Trauma and resilience in the other 23 hours' (2018).ได้อธิบายว่า ...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

อะไรทำให้เราเป็น “ตัวเรา” ในทุกวันนี้ “เราเป็นคนอย่างที่เราเป็นเพราะสิ่งที่เราเรียนรู้และสิ่งที่เราจดจำได้” - We are who we are because of what we learn and what we remember. เป็นคำกล่าวของอีริค อาร์ เคนเดล (Eric R. Kandel)...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

ความรู้เรื่องสมอง 3 ส่วน ในระยะหลัง การศึกษาค้นคว้าที่ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้เราเห็นวิวัฒนาการของสมอง ซึ่งทำให้เข้าใจกลไกการเกิดพฤติกรรม การเรียนรู้ สติปัญญา การตัดสินใจ และทักษะการบริหารชีวิตของมนุษย์ลึกซึ้งขึ้น โดย พอล ดี. แมคลีน Paul  D. Maclean (1913-2007)...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ไม่มีพ่อแม่คนไหนสมบูรณ์แบบ ความทรงจำในวัยเด็ก ไม่ว่าจะเป็นสถานการณ์ในครอบครัว ความรู้สึกต่อพ่อแม่ที่เป็นอดีตอันเจ็บปวด ในวัยเด็ก หรือความสุขที่ได้รับจากความรักการดูแลเอาใจใส่จากพ่อแม่  มักหล่อหลอมและเป็นรูปแบบความผูกพัน และวิธีการ...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

เมื่อต้องส่งลูกเข้าสถานพัฒนาเด็ก การส่งเด็กเข้าสถานรับเลี้ยงเด็ก เป็นหนึ่งในหัวข้อที่มีการกล่าวถึงมากที่สุด ในประวัติศาสตร์ของ จิตวิทยาพัฒนาการ การอภิปรายเกี่ยวกับสถานรับเลี้ยงเด็กเกิดขึ้นครั้งแรกในโลกตะวันตก เมื่อผู้หญิงเริ่มต่อสู้เพื่อ สิทธิในการทำงาน ...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

4 + 4 วิธีตอบสนองความต้องการของเด็กเล็กในแต่ละสถานการณ์ ความต้องการของเด็กเล็กในแต่ละสถานการณ์มีความแตกต่างกันไป ผู้ปกครองที่เข้าใจวงจรความต้อง การทางใจของเด็ก จะสามารถสร้างความสมดุลระหว่างความรู้สึกมั่นคงปลอดภัย กับความต้องการพัฒนาการพึ่ง ตนเองของเด็ก...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

วงจรแห่งความปลอดภัย (Circle of Security) เนื่องจากเด็กแต่ละคนมีความต้องการความปลอดภัยในระดับที่แตกต่างกัน   Circle of Security  เป็น โปรแกรมหนึ่งที่ถือว่าเป็นนวัตกรรม ที่ออกแบบมาเพื่อช่วยให้พ่อแม่ผู้ปกครองเข้าใจวงจรความต้องการทางใจ...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

“พื้นที่ปลอบโยน” วิธีหนึ่งที่พ่อแม่สามารถส่งเสริมให้ลูกมี “ทักษะ” จนกลายเป็น “นิสัย”ในการปลอบโยนตัวเองได้ยามมีความทุกข์ คือการสอนให้ลูกรู้ว่า ลูกสามารถเอาชนะความทุกข์และอารมณ์ที่รุนแรงได้เสมอ โดยพ่อแม่ใช้ "เครื่องมือ" บางอย่างให้เป็นประโยชน์ เครื่องมือแรก คือ ในบ้านมี...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ความเอาใจใส่สม่ำเสมอสร้างความรู้สึกปลอดภัย ความเอาใจใส่อย่างสม่ำเสมอของพ่อแม่ที่เด็กได้รับครั้งแล้วครั้งเล่า ทำให้เด็กเกิดความรู้สึกปลอดภัยในหนังสือเรื่อง “พลังแห่งการปรากฏตัว” (The Power Of Showing Up) ของ แดเนียล เจ. ซีเกล และ ทีน่า เพน ไบร์สัน (Daniel J Siegel...

อ่านเพิ่มเติม

Executive Functions

“เราเห็นว่าประสบการณ์ในช่วงปฐมวัย
มีความสำคัญเพียงไรต่อสิ่งที่จะเกิดขึ้นตามมาตลอดชีวิต
ทั้งเห็นสภาพแวดล้อมในช่วงปฐมวัยได้ฝังลงใน “สมองของเด็ก”
และเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสมองไปอย่างไร”

Andrew S. Garner, developingchild, havard.edu