EF บทความแปล

”คิดเป็น ทำเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น
อยู่กับคนอื่นเป็นและมีความสุขเป็น”

ทักษะสมอง EF กับการพัฒนาคุณธรรมในใจเด็ก

ทักษะสมอง EF กับการพัฒนาคุณธรรมในใจเด็ก คุณธรรม เป็นความสามารถในการใช้วิจารณญาณในการกระทำสิ่งที่ดีงามต่อคนอื่น สังคมและสิ่งแวดล้อม เป็นเครื่องชี้นำการตัดสินใจและการกระทำในการดำเนินชีวิต (Kohlberg 1963,1984)...

อ่านเพิ่มเติม

กิจกรรมพัฒนาทักษะ EF ในวัยรุ่น

กิจกรรมพัฒนาทักษะ EF ในวัยรุ่น ทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function: EF) ของสมอง เกี่ยวข้องทั้งเรื่องการคิดและพฤติกรรม ซึ่งมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเรียนรู้และการตั้งเป้าหมายของตัวเอง รวมทั้งการวางแผนระยะยาว ทักษะสมองส่วนหน้า EF...

อ่านเพิ่มเติม

กิจกรรมพัฒนาทักษะ EF ในเด็ก 7-12 ปี

กิจกรรมพัฒนาทักษะ EF ในเด็ก 7-12 ปี พ่อแม่ทุกคนต้องการเห็นว่า เมื่อส่งลูกเข้าเรียนในโรงเรียน ลูกจะสามารถเรียนหนังสือได้ดีที่สุดเท่าที่ลูกทำได้ ส่วนมากสิ่งที่โรงเรียนและพ่อแม่ รวมทั้งรัฐบาลที่มีความรู้ไม่พอ พยายามทำคือ...

อ่านเพิ่มเติม

เอกสารแปล และเรียบเรียง

หลากหลายชุดเอกสารความรู้เกี่ยวกับ EF จากนักวิชาการที่ถูกแปล และรวบรวมไว้เพื่อนำไปใช้ในการศึกษาต่อไป และประยุกต์ใช้สำหรับการพัฒนา EF ของนักเรียน และบุตรหลานต่อไป

ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

เมื่อต้องส่งลูกเข้าสถานพัฒนาเด็ก การส่งเด็กเข้าสถานรับเลี้ยงเด็ก เป็นหนึ่งในหัวข้อที่มีการกล่าวถึงมากที่สุด ในประวัติศาสตร์ของ จิตวิทยาพัฒนาการ การอภิปรายเกี่ยวกับสถานรับเลี้ยงเด็กเกิดขึ้นครั้งแรกในโลกตะวันตก เมื่อผู้หญิงเริ่มต่อสู้เพื่อ สิทธิในการทำงาน ...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

4 + 4 วิธีตอบสนองความต้องการของเด็กเล็กในแต่ละสถานการณ์ ความต้องการของเด็กเล็กในแต่ละสถานการณ์มีความแตกต่างกันไป ผู้ปกครองที่เข้าใจวงจรความต้อง การทางใจของเด็ก จะสามารถสร้างความสมดุลระหว่างความรู้สึกมั่นคงปลอดภัย กับความต้องการพัฒนาการพึ่ง ตนเองของเด็ก...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

วงจรแห่งความปลอดภัย (Circle of Security) เนื่องจากเด็กแต่ละคนมีความต้องการความปลอดภัยในระดับที่แตกต่างกัน   Circle of Security  เป็น โปรแกรมหนึ่งที่ถือว่าเป็นนวัตกรรม ที่ออกแบบมาเพื่อช่วยให้พ่อแม่ผู้ปกครองเข้าใจวงจรความต้องการทางใจ...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

“พื้นที่ปลอบโยน” วิธีหนึ่งที่พ่อแม่สามารถส่งเสริมให้ลูกมี “ทักษะ” จนกลายเป็น “นิสัย”ในการปลอบโยนตัวเองได้ยามมีความทุกข์ คือการสอนให้ลูกรู้ว่า ลูกสามารถเอาชนะความทุกข์และอารมณ์ที่รุนแรงได้เสมอ โดยพ่อแม่ใช้ "เครื่องมือ" บางอย่างให้เป็นประโยชน์ เครื่องมือแรก คือ ในบ้านมี...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ความเอาใจใส่สม่ำเสมอสร้างความรู้สึกปลอดภัย ความเอาใจใส่อย่างสม่ำเสมอของพ่อแม่ที่เด็กได้รับครั้งแล้วครั้งเล่า ทำให้เด็กเกิดความรู้สึกปลอดภัยในหนังสือเรื่อง “พลังแห่งการปรากฏตัว” (The Power Of Showing Up) ของ แดเนียล เจ. ซีเกล และ ทีน่า เพน ไบร์สัน (Daniel J Siegel...

อ่านเพิ่มเติม
ชุความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ชุความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ทฤษฎีความผูกพัน หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นักจิตวิทยาพัฒนาการชาวอังกฤษ จอห์น โบว์ลบี (John Bowlby - 1907-1990) ได้ให้กำเนิดทฤษฎีความผูกพัน (Attachment Theory) ขึ้น จากการตั้งข้อสังเกตว่า เด็กที่ถูกเลี้ยงมา ในสถานเลี้ยงเด็กกำพร้าไม่มีความสุข...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

คุณภาพความผูกพันส่งผลจนตลอดชีวิต ประสบการณ์แรกในชีวิต เป็นประสบการณ์สำคัญที่เด็กจะรับรู้และเรียนรู้ว่า ชีวิตเป็นอย่างไร โลกนี้เป็น อย่างไร เด็กที่ไม่ได้รับการเอาใจใส่ หรือยิ่งไปกว่านั้นคือ พ่อแม่กลายเป็นภัยคุกคามต่อความปลอดภัย ด้วยการ แสดงอาการก้าวร้าว...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

เมื่อเด็กเล็กถูกพรากจากแม่ยามเจ็บป่วย มีงานวิจัยที่ชี้ว่า ในเด็กเล็กที่เพิ่งเกิดมาได้ไม่นาน การพลัดพรากจากแม่เพียงไม่กี่วันสามารถส่งผลกระทบ ร้ายแรงต่อพัฒนาการของเด็กได้ เจมส์ โรเบิร์ตสัน (James Robertson) นักจิตวิเคราะห์ชาวสก็อตซึ่งมีชีวิตอยู่ในช่วงปี ค.ศ.1911 - 1988...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ความผูกพันสำคัญตั้งแต่แรกเกิด ความผูกพันเป็นกระบวนการที่สำคัญยิ่งในช่วงแรกเกิด เมื่อชีวิตเริ่มต้นในปีแรกที่เด็กไม่สามารถอยู่รอดได้ ด้วยตัวเอง ความต้องการทางชีวภาพขั้นพื้นฐานเพื่อให้ชีวิตรอดนั้น เด็กจะต้องการ “แม่” หรือใครสักคนเป็น “คนเลี้ยงดูหลัก”   ...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด: เข้าใจ Growth Mindset

ความรู้ชุด: เข้าใจ Growth Mindset

จะช่วยให้เด็กๆของเรามี Growth Mindset ได้อย่างไร พ่อแม่ ครูและผู้ใหญ่ คือปัจจัยสำคัญที่สามารถช่วยให้ลูกหลานพัฒนากรอบความคิดแบบ Growth Mindset ได้           ดร.คารอล เอส. ดเว็ค จากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด สหรัฐอเมริกา...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด: เข้าใจ Growth Mindset

ความรู้ชุด: เข้าใจ Growth Mindset

กรอบความคิดของเรา “เปลี่ยน” ได้ไหม? การที่เราเข้าใจถึงความสำคัญของกรอบความคิดพื้นฐานที่จะนำพาให้เราสามารถประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้และมีความสุขในชีวิตนั้น เราต้องพึงตระหนักก่อนว่า ไม่ว่ากรอบความคิดตายตัว (Fixed Mindset) และกรอบความคิดแบบเติบโต (Growth...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด: เข้าใจ Growth Mindset

ความรู้ชุด: เข้าใจ Growth Mindset

MINDSET ทั้งสองแบบเกิดขึ้นได้อย่างไร กรอบความคิด หรือ Mindset อันเป็นความเชื่อที่คนๆ หนึ่งมีนั้น ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากต้นแบบที่เห็น และประสบการณ์ที่ผ่านมาในวัยเด็ก การเรียนรู้จากสิ่งรอบตัว การเลี้ยงดู การอบรมสั่งสอน สิ่งที่พ่อแม่และ ครอบครัวปฏิบัติต่อ...

อ่านเพิ่มเติม

Executive Functions

“เราเห็นว่าประสบการณ์ในช่วงปฐมวัย
มีความสำคัญเพียงไรต่อสิ่งที่จะเกิดขึ้นตามมาตลอดชีวิต
ทั้งเห็นสภาพแวดล้อมในช่วงปฐมวัยได้ฝังลงใน “สมองของเด็ก”
และเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสมองไปอย่างไร”

Andrew S. Garner, developingchild, havard.edu