EF บทความแปล

”คิดเป็น ทำเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น
อยู่กับคนอื่นเป็นและมีความสุขเป็น”

การนอนสำคัญต่อทักษะสมองส่วนหน้า EF อย่างไร

การนอนสำคัญต่อทักษะสมองส่วนหน้า EF อย่างไร คนใช้เวลาประมาณหนึ่งในสามของชีวิตในการนอนหลับ การนอนหลับมีความสำคัญต่อการพัฒนาการทางร่างกาย การเรียนรู้ ความเข้าใจ อารมณ์และความสัมพันธ์ทางสังคม...

อ่านเพิ่มเติม

ออกกำลังกายแล้ว สมองดีมี EF?

ออกกำลังกายแล้ว สมองดีมี EF? “การออกกำลังกาย” เป็นยาแขนงวิเศษ ที่ไม่ต้องจ่ายเงินไปหาหมอ เป็นวิธีที่ง่ายและประหยัด การออกกำลังกายเคลื่อนไหวไม่เพียงลดความเสี่ยงของโรคที่ไม่ติดต่อ ยังช่วยทำให้สมองมีประสิทธิภาพดี กิจกรรมทางกาย การเคลื่อนไหวของร่างกาย...

อ่านเพิ่มเติม

ทักษะอารมณ์และสังคมกับทักษะสมอง EF

ทักษะอารมณ์และสังคมกับทักษะสมอง EF พัฒนาการทางอารมณ์และการควบคุมอารมณ์เกี่ยวข้องกับทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function: EF) การพัฒนาทักษะอารมณ์และสังคมหมายถึง การมีทักษะสังเกตตนเอง การตระหนักรู้ถึงสภาวะอารมณ์ที่ตนเองเป็นอยู่...

อ่านเพิ่มเติม

เอกสารแปล และเรียบเรียง

หลากหลายชุดเอกสารความรู้เกี่ยวกับ EF จากนักวิชาการที่ถูกแปล และรวบรวมไว้เพื่อนำไปใช้ในการศึกษาต่อไป และประยุกต์ใช้สำหรับการพัฒนา EF ของนักเรียน และบุตรหลานต่อไป

ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

ความรู้เรื่องสมอง 3 ส่วน ในระยะหลัง การศึกษาค้นคว้าที่ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้เราเห็นวิวัฒนาการของสมอง ซึ่งทำให้เข้าใจกลไกการเกิดพฤติกรรม การเรียนรู้ สติปัญญา การตัดสินใจ และทักษะการบริหารชีวิตของมนุษย์ลึกซึ้งขึ้น โดย พอล ดี. แมคลีน Paul  D. Maclean (1913-2007)...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

เมื่อสมองผิดปกติ ปัจจุบันเราสามารถเห็นการทำงานของสมองจากกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้น ในบริเวณของสมองส่วนที่กำลังทำงาน ผ่านการสร้างภาพด้วยเทคโนโลยีที่เรียกว่า Functional Magnetic Resonance Imaging : fMRI   โดยการสร้างภาพ เกิดจากการอาศัยสนามแม่เหล็กแรงสูงทำงาน...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับสมอง หนึ่งในห้าของสมองเป็นเลือดและน้ำไขสันหลัง หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกว่า Cerebrospinal fluid ซึ่งเป็นน้ำที่สร้างขึ้นในโพรงสมอง ที่ร่างกายสร้างขึ้นมาโดยสกัดออกมาจากเลือดแดง เพื่อไหลเวียนหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง ห่อหุ้มทั้งสมองและไขสันหลังไว้  ...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

สารสื่อประสาทกับความจำและการเรียนรู้ ความจำและการเรียนรู้เป็นกระบวนการทำงานชั้นสูงของสมองมนุษย์ที่มีความเชี่ยวชาญ และซับซ้อนกว่าสิ่งมีชีวิตทุกชนิด...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

เซลล์ประสาทและสารสื่อประสาท เซลล์ประสาทมีส่วนประกอบ 3 ส่วน ได้แก่; เซลล์สมอง (Cell Body)สายใยประสาทรับข้อมูล (Dendrite)สายใยประสาทส่งข้อมูล (Axon) เซลล์ประสาท : ที่มาของรูปภาพ: Hee Sok, Han Department of Biomedical Engineering, Kyung-Hee University BRAIN STIMULATION....

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

“สมอง” คืออะไรกันแน่ มนุษย์พยายามทำความเข้าใจ และให้คำจำกัดความ “สมอง” เรื่อยมา ในสมัยกรีกรุ่งเรืองเมื่อ ประมาณสองพันปีก่อน เพลโต Plato (427 ปีก่อนคริสตกาล) ผู้ก่อตั้ง อะคาดิมี่ (Academy) ซึ่งถือเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของโลก และเป็นผู้นำเสนอกฎที่สำคัญทางวิทยาศาสตร์...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด: สมองเด็กและเยาวชนกับการเสพติด

ความรู้ชุด: สมองเด็กและเยาวชนกับการเสพติด

โปรแกรมป้องกันฯ แบ่งตามประเภทของระดับการเจาะเข้าหากลุ่มเป้าหมาย  โปรแกรมครอบจักรวาล Universal programs: ออกแบบมาเพื่อประชากรทั่วไป เช่น สำหรับเด็กทุกคนในโรงเรียน โปรแกรมคัดเลือก Selective programs:  ออกแบบเพื่อเจาะจงไปที่กลุ่มที่มีความเสี่ยง...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด: สมองเด็กและเยาวชนกับการเสพติด

ความรู้ชุด: สมองเด็กและเยาวชนกับการเสพติด

การวางแผนป้องกันยาเสพติดในชุมชน ชุมชนจะพัฒนาแผนป้องกันยาเสพติดบนฐานการวิจัยได้อย่างไร   กระบวนการวางแผนป้องกันยาเสพติดของชุมชน  ทำได้โดย ; ระบุปัญหา; สภาพและลักษณะของการติดยาเสพติดในชุมชน(...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด: สมองเด็กและเยาวชนกับการเสพติด

ความรู้ชุด: สมองเด็กและเยาวชนกับการเสพติด

ปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยป้องกัน ดังกล่าวแล้วว่า การศึกษาวิจัยในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมาพยายามที่จะหาว่า  ปัญหาการเสพติดเกิดขึ้นอย่างไร  พัฒนาอย่างไร ปัจจัยที่เพิ่มโอกาสเสพติดเราเรียกว่า “ปัจจัยเสี่ยง” ปัจจัยที่ลดโอกาสเสพติด เรียกว่า “ปัจจัยป้องกัน” งานวิจัยชี้ว่า...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด: สมองเด็กและเยาวชนกับการเสพติด

ความรู้ชุด: สมองเด็กและเยาวชนกับการเสพติด

การเปลี่ยนมุมมองต่อการเสพติดว่าเป็นโรคของสมอง NIDA และสำนักงาน National Drug Control Policy ของสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นหน่วยงานที่ศึกษาวิจัยเรื่องการเสพติดมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เห็นพ้องกันว่าตลอดศตวรรษที่แล้ว...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด: สมองเด็กและเยาวชนกับการเสพติด

ความรู้ชุด: สมองเด็กและเยาวชนกับการเสพติด

สมองเด็กและเยาวชนกับการเสพติด 2 ทศวรรษที่ผ่านมา งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ด้านสมองต่างยอมรับกันมากขึ้นเรื่อยๆ ว่า “การเสพติดเป็นโรคของสมอง” ที่นำไปสู่แนวทางใหม่ในการป้องกัน การบำบัด และการวางนโยบายสุขภาพด้านยาเสพติดของสังคม แต่ก็ยังมีหลายคำถามค้างคาใจกันอยู่...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ความรู้ชุด : ความผูกพันไว้ใจ

ไม่มีพ่อแม่คนไหนสมบูรณ์แบบ ความทรงจำในวัยเด็ก ไม่ว่าจะเป็นสถานการณ์ในครอบครัว ความรู้สึกต่อพ่อแม่ที่เป็นอดีตอันเจ็บปวด ในวัยเด็ก หรือความสุขที่ได้รับจากความรักการดูแลเอาใจใส่จากพ่อแม่  มักหล่อหลอมและเป็นรูปแบบความผูกพัน และวิธีการ...

อ่านเพิ่มเติม

Executive Functions

“เราเห็นว่าประสบการณ์ในช่วงปฐมวัย
มีความสำคัญเพียงไรต่อสิ่งที่จะเกิดขึ้นตามมาตลอดชีวิต
ทั้งเห็นสภาพแวดล้อมในช่วงปฐมวัยได้ฝังลงใน “สมองของเด็ก”
และเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสมองไปอย่างไร”

Andrew S. Garner, developingchild, havard.edu