EF บทความแปล

”คิดเป็น ทำเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น
อยู่กับคนอื่นเป็นและมีความสุขเป็น”

EF ดี : “ยั้ง” ได้เพราะไตร่ตรอง ใช่ถูกบังคับ

EF ดี : “ยั้ง” ได้เพราะไตร่ตรอง ใช่ถูกบังคับ ทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function: EF) พื้นฐานที่สำคัญยิ่งทักษะหนึ่งคือ ทักษะยั้งคิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) อันเป็นความสามารถในการหยุดหรือยั้งความคิด ความสามารถนี้เกิดขึ้นและพัฒนาตั้งแต่ช่วงแรกเกิดของชีวิต...

อ่านเพิ่มเติม

เด็กอนุบาล EF ดี มีชัยไปกว่าครึ่ง

เด็กอนุบาล EF ดี มีชัยไปกว่าครึ่ง ทักษะการทำงานของทักษะสมองส่วนหน้าเริ่มต้นพัฒนาอย่างชัดเจนในวัยอนุบาล ซึ่งเป็นเด็กก่อนวัยเรียน การเข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาลถือเป็นประสบการณ์ครั้งแรก ที่เด็กได้พบกับสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เป็นทางการ...

อ่านเพิ่มเติม

การพัฒนาทักษะทางสังคมกับทักษะสมองส่วนหน้า EF

การพัฒนาทักษะทางสังคมกับทักษะสมองส่วนหน้า EF ทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Functions : EF) เป็นกระบวนการทำงานขั้นสูงของสมองบริเวณหลังหน้าผาก ทำหน้าที่เชิงบริหารจัดการกำกับอารมณ์ ความคิดและการกระทำ ทำให้มีความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมทางกายภาพและทางสังคม...

อ่านเพิ่มเติม

เอกสารแปล และเรียบเรียง

หลากหลายชุดเอกสารความรู้เกี่ยวกับ EF จากนักวิชาการที่ถูกแปล และรวบรวมไว้เพื่อนำไปใช้ในการศึกษาต่อไป และประยุกต์ใช้สำหรับการพัฒนา EF ของนักเรียน และบุตรหลานต่อไป

ความคิดสร้างสรรค์ ไม่ใช่สิ่งที่ต้องเรียน หากจะต้องไม่เรียน

ความคิดสร้างสรรค์ ไม่ใช่สิ่งที่ต้องเรียน หากจะต้องไม่เรียน

เมื่อเด็กๆ เต้นตามทำนองของตัวเอง พวกเขาจะกลายเป็นครีเอเตอร์ และเป็นผู้ประกอบการในอนาคตได้ แต่หากความอยากรู้อยากเห็นตามธรรมชาตินี้ ไม่มีที่ทางให้เติบโต ก็จะกลายเป็นความสูญเสียความสามารถที่มีศักยภาพ และการเป็นผู้ประกอบการในอนาคต เป็นความเชื่อผิด...

อ่านเพิ่มเติม
ความคิดสร้างสรรค์ในห้องเรียน

ความคิดสร้างสรรค์ในห้องเรียน

เมื่อมีการออกแบบประสบการณ์การเรียนรู้ ครูสามารถวางแผน และกำหนดกรอบหลักสูตร พร้อมทั้งจัดเตรียมเครื่องมือ และตัวเลือกต่างๆเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนแก่นักเรียน เพื่อให้นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ในงานของตนเอง...

อ่านเพิ่มเติม
การเล่นคือหัวใจของการเรียนรู้ของเด็กเล็ก (ตอนต่อจากเรื่อง Creative Play)

การเล่นคือหัวใจของการเรียนรู้ของเด็กเล็ก (ตอนต่อจากเรื่อง Creative Play)

ขณะที่เด็กเล่น พวกเขาเรียนรู้แต่ที่สำคัญที่สุด ในขณะเล่น เด็กเรียนรู้ว่าจะเรียนรู้อย่างไร ~ O. FRED DONALDSON ~ ตลอดช่วงปฐมวัย การเล่นส่งเสริมพัฒนาร่างกายของเด็ก เพิ่มทักษะการใช้ประสาทสัมผัส การใช้กล้ามเนื้อ และการสำรวจ เด็กๆจะค่อยๆ...

อ่านเพิ่มเติม
Creative Play (1)

Creative Play (1)

ความรู้ที่เด็กต้องการมากที่สุด คือความรู้ที่จะช่วยให้พวกเขาเข้าถึงความรู้ได้มากขึ้น ~ SEYMOUR PAPERT ~ เป้าหมายที่จะเตรียมเด็กๆทั้งหลายให้เป็นนักสร้างนวัตกรรมรุ่นใหม่ หรือเป็นนักแก้ปัญหาในโลกอนาคตนั้น จำเป็นต้องให้ความสำคัญในการพัฒนาทักษะและเจตคติ 2 ชุด นั่นคือ หนึ่ง)...

อ่านเพิ่มเติม
4 วิธีพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในนักเรียน

4 วิธีพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในนักเรียน

Benjamin Bloom นักจิตวิทยาการศึกษาชาวอเมริกัน ซึ่งเป็นผู้นำเสนอทฤษฎีการเรียนรู้ที่รู้จักกันในชื่อ Bloom’s Taxonomy ได้จัดอันดับ “ความคิดสร้างสรรค์” ให้เป็นทักษะขั้นสูงสุดของการเรียนรู้ เพราะบุคคลต้องใช้ทักษะความรู้ความเข้าใจอื่นๆ ตั้งแต่ขั้นต้น เริ่มจาก 1)...

อ่านเพิ่มเติม
โรงเรียนที่ทุกคนมีส่วนร่วม

โรงเรียนที่ทุกคนมีส่วนร่วม

ครูใหญ่คือคนสำคัญ เมื่อคิดถึงการศึกษา ภาพที่เกิดขึ้นในหัวของเราก็มักจะเห็นภาพนักเรียนสวมชุดเครื่องแบบเป็นระเบียบเรียบร้อย เห็นภาพครูในชั้นเรียนยืนอยู่หน้าห้อง แล้วก็อาคารเรียนหลังมหึมา แต่ในความเป็นจริง การศึกษาไม่ได้เกี่ยวกับโรงเรียน ครู และนักเรียนเท่านั้น...

อ่านเพิ่มเติม
โรงเรียนที่สอน 8 หลัก (ไม่ใช่ 8 กลุ่มสาระ)

โรงเรียนที่สอน 8 หลัก (ไม่ใช่ 8 กลุ่มสาระ)

ทุกวันนี้โรงเรียนทั่วไปในประเทศไทยถูกกำหนดให้สอนหลักสูตรที่ประกอบด้วย 8 กลุ่มสาระวิชา ตั้งแต่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี  สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษา และพลศึกษา  ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ เรียกว่าการเรียนทั้งหมดนี้...

อ่านเพิ่มเติม
โรงเรียนแบบเกษตรอินทรีย์ ?

โรงเรียนแบบเกษตรอินทรีย์ ?

ผลจากการไม่ลงตัวกับการเรียนในระบบโรงเรียนที่พบเห็นกันได้ทั่วไปในปัจจุบัน นักเรียนได้เรียนในสิ่งที่ไม่ชอบ สิ่งที่ชอบกลับไม่ได้เรียน ก็อาจจะส่งผลต่อเด็กต่อเนื่องไปหลายอย่าง บางคนถึงขั้นรู้สึกเสียตัวตน ไม่เห็นคุณค่าในตนเอง เชื่อว่าตัวเองไม่เอาไหน เรียนไม่ได้...

อ่านเพิ่มเติม
โรงเรียนที่มาจากยุคอุตสาหกรรม

โรงเรียนที่มาจากยุคอุตสาหกรรม

เป็นธรรมชาติของเด็กที่ชอบการเรียนรู้ แต่ทําไมเด็กหลายคนจึงกลัวการไปโรงเรียน? เซอร์เคน โรบินสัน นักการศึกษาชื่อดังระดับโลก ชวนให้เราคิดย้อนกลับไปยังช่วงเริ่มต้นของการเข้าสู่ระบบการศึกษา  เขาบอกว่า โรงเรียนไม่เคยเป็นพื้นที่สร้างสรรค์...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

ตระหนักในกฎแห่งการเรียนรู้ของสมอง ทันทีที่เด็กเกิดมา สิ่งที่เกิดขึ้นมาแรกสุกคือการพัฒนาระบบประสาทที่เกี่ยวกับการหายใจ การเต้นของหัวใจ การเคลื่อนไหว การมองเห็น และการได้ยินเสียง ทั้งนี้ทารกแรกเกิดจนถึงอายุหนึ่งขวบนั้นมีจำนวนเซลล์สมอง (Neurons)...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

สามเสาหลัก : การเปลี่ยนผ่านของสมองส่วนอารมณ์สู่เหตุผล Howard Bath นักจิตวิทยาคลีนิกชาวออสเตรเลีย ผู้เขียนหนังสือร่วมกับ John Seita เรื่อง 'The Three Pillars of Transforming Care: Trauma and resilience in the other 23 hours' (2018).ได้อธิบายว่า ...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

อะไรทำให้เราเป็น “ตัวเรา” ในทุกวันนี้ “เราเป็นคนอย่างที่เราเป็นเพราะสิ่งที่เราเรียนรู้และสิ่งที่เราจดจำได้” - We are who we are because of what we learn and what we remember. เป็นคำกล่าวของอีริค อาร์ เคนเดล (Eric R. Kandel)...

อ่านเพิ่มเติม

Executive Functions

“เราเห็นว่าประสบการณ์ในช่วงปฐมวัย
มีความสำคัญเพียงไรต่อสิ่งที่จะเกิดขึ้นตามมาตลอดชีวิต
ทั้งเห็นสภาพแวดล้อมในช่วงปฐมวัยได้ฝังลงใน “สมองของเด็ก”
และเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสมองไปอย่างไร”

Andrew S. Garner, developingchild, havard.edu