EF บทความแปล
”คิดเป็น ทำเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น
อยู่กับคนอื่นเป็นและมีความสุขเป็น”
สมองเด็กในภาวะสงคราม
สมองเด็กในภาวะสงคราม สมองของเด็กประมาณ 90 % พัฒนาในช่วงอายุ 5 ขวบ นั่นหมายความว่า เด็กคนหนึ่งที่จะเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ จะเป็นคนเช่นไรนั้น ประสบการณ์ชีวิตตั้งแต่เกิดมาถึง 5 ขวบมีบทบาทสำคัญในการกำหนดความสามารถในการเรียนรู้ ทักษะการทำงานของสมองขั้นสูง (Executive...
กิจกรรมฝึกฝน EF ในเด็กวัย 18-36 เดือน
กิจกรรมฝึกฝน EF ในเด็กวัย 18-36 เดือน เด็กวัยขวบครึ่งเริ่มพูดได้ไปจนถึงอายุ 3 ขวบ (18-36 เดือน) เป็นช่วงเวลาที่การพัฒนาการด้านภาษาเป็นไปอย่างรวดเร็ว ภาษาจึงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function: EF) และการควบคุมตนเอง...
การฝึกฝน EF ในเด็กวัย 6-18 เดือน
การฝึกฝน EF ในเด็กวัย 6-18 เดือน ทักษะเชิงบริหารของสมองส่วนหน้า (Executive Functions: EF) เป็นทักษะสำคัญของชีวิตในการดำเนินภารกิจในแต่ละวันให้บรรลุเป้าหมาย ไม่ว่าจะเป็นการเรียน การทำงาน ความสัมพันธ์กับผู้อื่น และการพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ ...
เอกสารแปล และเรียบเรียง
หลากหลายชุดเอกสารความรู้เกี่ยวกับ EF จากนักวิชาการที่ถูกแปล และรวบรวมไว้เพื่อนำไปใช้ในการศึกษาต่อไป และประยุกต์ใช้สำหรับการพัฒนา EF ของนักเรียน และบุตรหลานต่อไป
สมองเด็กในภาวะสงคราม
สมองเด็กในภาวะสงคราม สมองของเด็กประมาณ 90 % พัฒนาในช่วงอายุ 5 ขวบ นั่นหมายความว่า เด็กคนหนึ่งที่จะเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ จะเป็นคนเช่นไรนั้น ประสบการณ์ชีวิตตั้งแต่เกิดมาถึง 5 ขวบมีบทบาทสำคัญในการกำหนดความสามารถในการเรียนรู้ ทักษะการทำงานของสมองขั้นสูง (Executive...
กิจกรรมฝึกฝน EF ในเด็กวัย 18-36 เดือน
กิจกรรมฝึกฝน EF ในเด็กวัย 18-36 เดือน เด็กวัยขวบครึ่งเริ่มพูดได้ไปจนถึงอายุ 3 ขวบ (18-36 เดือน) เป็นช่วงเวลาที่การพัฒนาการด้านภาษาเป็นไปอย่างรวดเร็ว ภาษาจึงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function: EF) และการควบคุมตนเอง...
การฝึกฝน EF ในเด็กวัย 6-18 เดือน
การฝึกฝน EF ในเด็กวัย 6-18 เดือน ทักษะเชิงบริหารของสมองส่วนหน้า (Executive Functions: EF) เป็นทักษะสำคัญของชีวิตในการดำเนินภารกิจในแต่ละวันให้บรรลุเป้าหมาย ไม่ว่าจะเป็นการเรียน การทำงาน ความสัมพันธ์กับผู้อื่น และการพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ ...
ดนตรีกับการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า EF
ดนตรีกับการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า EF การศึกษาวิจัยว่าดนตรีมีส่วนในการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function) เพิ่มขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา มีการศึกษาที่ยืนยันว่าการฝึกฝนเล่นดนตรีประเภทต่างๆ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสมอง...
พัฒนา EF ด้วยการเล่นอย่างเป็นระบบ
พัฒนา EF ด้วยการเล่นอย่างเป็นระบบ สมองส่วนหน้าบริเวณหลังหน้าผาก เป็นสมองส่วนของการคิดขั้นสูงที่มีทักษะเชิงบริหารจัดการ (Executive Function: EF) ที่ทำงานกำกับการวางแผนและกำกับการกระทำของเราเกี่ยวข้องกับความคิด อารมณ์ที่เกิดขึ้น โดยมีทักษะพื้นฐานของสมองส่วนนี้อยู่ 3...
ฝึกฝนเพื่อพัฒนา พัฒนาแล้วฝึกฝนต่อ
ฝึกฝนเพื่อพัฒนา พัฒนาแล้วฝึกฝนต่อ ทักษะเชิงบริหารจัดการ (Executive Function: EF) ของสมองส่วนหน้า ซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญที่สุดต่อความสำเร็จในการเรียนหนังสือและการทำงาน มิตรภาพ การแต่งงาน คุณภาพของชีวิต มีสุขภาพที่ดีและมีจิตใจที่เป็นสุข ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่า...
พัฒนาความสามารถ ในการคิดยืดหยุ่นของเด็ก
พัฒนาความสามารถ ในการคิดยืดหยุ่นของเด็ก ทักษะยืดหยุ่น (Cognitive Flexibility/ Shifting) เป็นทักษะพื้นฐานของทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Functions: EF) ซึ่งเป็นทักษะกระบวนการคิดชั้นสูงในสมองของมนุษย์ เป็นความสามารถในการเปลี่ยนมุมมอง เช่น...
วิธีพัฒนา “ความจำเพื่อใช้งาน” ให้เด็กของเรา
วิธีพัฒนา “ความจำเพื่อใช้งาน” ให้เด็กของเรา ความจำเพื่อใช้งาน (Working Memory) เป็นความสามารถในการจดจำข้อมูลทั้งในระยะสั้น และรวมถึงการเก็บข้อมูลไว้ในความทรงจำระยะยาว เป็นความสามารถที่เด็กจำเป็นต้องมี...
หลากหลายวิธี ฝึก EF ที่บ้านได้
หลากหลายวิธี ฝึก EF ที่บ้านได้ หากในชีวิตประจำวันเรากำลัง ...ตั้งใจเรียนหรือทำงานเรื่องใดเรื่องหนึ่งให้เสร็จสำเร็จลง แม้ว่าเรื่องนั้นน่าเบื่อมาก ...
EF ดี : “ยั้ง” ได้เพราะไตร่ตรอง ใช่ถูกบังคับ
EF ดี : “ยั้ง” ได้เพราะไตร่ตรอง ใช่ถูกบังคับ ทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function: EF) พื้นฐานที่สำคัญยิ่งทักษะหนึ่งคือ ทักษะยั้งคิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) อันเป็นความสามารถในการหยุดหรือยั้งความคิด ความสามารถนี้เกิดขึ้นและพัฒนาตั้งแต่ช่วงแรกเกิดของชีวิต...
เด็กอนุบาล EF ดี มีชัยไปกว่าครึ่ง
เด็กอนุบาล EF ดี มีชัยไปกว่าครึ่ง ทักษะการทำงานของทักษะสมองส่วนหน้าเริ่มต้นพัฒนาอย่างชัดเจนในวัยอนุบาล ซึ่งเป็นเด็กก่อนวัยเรียน การเข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาลถือเป็นประสบการณ์ครั้งแรก ที่เด็กได้พบกับสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เป็นทางการ...
การพัฒนาทักษะทางสังคมกับทักษะสมองส่วนหน้า EF
การพัฒนาทักษะทางสังคมกับทักษะสมองส่วนหน้า EF ทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Functions : EF) เป็นกระบวนการทำงานขั้นสูงของสมองบริเวณหลังหน้าผาก ทำหน้าที่เชิงบริหารจัดการกำกับอารมณ์ ความคิดและการกระทำ ทำให้มีความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมทางกายภาพและทางสังคม...
Executive Functions
“เราเห็นว่าประสบการณ์ในช่วงปฐมวัย
มีความสำคัญเพียงไรต่อสิ่งที่จะเกิดขึ้นตามมาตลอดชีวิต
ทั้งเห็นสภาพแวดล้อมในช่วงปฐมวัยได้ฝังลงใน “สมองของเด็ก”
และเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสมองไปอย่างไร”
Andrew S. Garner, developingchild, havard.edu