โดย ปรารถนา หาญเมธี | มี.ค. 29, 2022 | บทความแปล, สาระ EF
ตระหนักในกฎแห่งการเรียนรู้ของสมอง ทันทีที่เด็กเกิดมา สิ่งที่เกิดขึ้นมาแรกสุกคือการพัฒนาระบบประสาทที่เกี่ยวกับการหายใจ การเต้นของหัวใจ การเคลื่อนไหว การมองเห็น และการได้ยินเสียง ทั้งนี้ทารกแรกเกิดจนถึงอายุหนึ่งขวบนั้นมีจำนวนเซลล์สมอง (Neurons)...
โดย ปรารถนา หาญเมธี | มี.ค. 29, 2022 | บทความแปล, สาระ EF
สามเสาหลัก : การเปลี่ยนผ่านของสมองส่วนอารมณ์สู่เหตุผล Howard Bath นักจิตวิทยาคลีนิกชาวออสเตรเลีย ผู้เขียนหนังสือร่วมกับ John Seita เรื่อง ‘The Three Pillars of Transforming Care: Trauma and resilience in the other 23 hours’ (2018).ได้อธิบายว่า ...
โดย ปรารถนา หาญเมธี | มี.ค. 29, 2022 | บทความแปล, สาระ EF
อะไรทำให้เราเป็น “ตัวเรา” ในทุกวันนี้ “เราเป็นคนอย่างที่เราเป็นเพราะสิ่งที่เราเรียนรู้และสิ่งที่เราจดจำได้” – We are who we are because of what we learn and what we remember. เป็นคำกล่าวของอีริค อาร์ เคนเดล (Eric R. Kandel)...
โดย ปรารถนา หาญเมธี | มี.ค. 29, 2022 | บทความแปล, สาระ EF
ความรู้เรื่องสมอง 3 ส่วน ในระยะหลัง การศึกษาค้นคว้าที่ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้เราเห็นวิวัฒนาการของสมอง ซึ่งทำให้เข้าใจกลไกการเกิดพฤติกรรม การเรียนรู้ สติปัญญา การตัดสินใจ และทักษะการบริหารชีวิตของมนุษย์ลึกซึ้งขึ้น โดย พอล ดี. แมคลีน Paul D. Maclean (1913-2007)...
โดย ปรารถนา หาญเมธี | มี.ค. 29, 2022 | บทความแปล
เมื่อสมองผิดปกติ ปัจจุบันเราสามารถเห็นการทำงานของสมองจากกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้น ในบริเวณของสมองส่วนที่กำลังทำงาน ผ่านการสร้างภาพด้วยเทคโนโลยีที่เรียกว่า Functional Magnetic Resonance Imaging : fMRI โดยการสร้างภาพ เกิดจากการอาศัยสนามแม่เหล็กแรงสูงทำงาน...