EF สำหรับครู

”คิดเป็น ทำเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น
อยู่กับคนอื่นเป็นและมีความสุขเป็น”

จากโรงเรียนสู่บ้าน ช่วยกันพัฒนา EF ให้เด็ก

โรงเรียนและบ้าน คุณครูและผู้ปกครองต้องร่วมมือกัน จึงจะพัฒนา EF ได้ผลดี เช่นเดียวกับการพัฒนาเด็กทุกๆ ด้าน หากโรงเรียนและบ้าน คุณครูและผู้ปกครองร่วมมือกัน การพัฒนา EF ในเด็กจึงจะได้ผลดี มีวิธีการขั้นตอนต่างๆ...

อ่านเพิ่มเติม

พ่อแม่และคุณครูคือ “นั่งร้าน” ของเด็ก

ในการพัฒนาเด็ก พ่อแม่และคุณครูจะต้องเป็น "นั่งร้าน" ที่ดีให้เด็ก โดยสร้างกิจวัตรประจำวัน เป็นแบบอย่างพฤติกรรมทางสังคม สร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนอย่างต่อเนื่อง บนความสัมพันธ์ที่ไว้วางใจกัน ในการพัฒนาเด็ก...

อ่านเพิ่มเติม

ฝึกเด็กให้รู้จักตั้งเป้าหมายและลงมือทำให้สำเร็จ

เราสามารถฝึกเด็กให้รู้จักตั้งเป้าหมายและลงมือทำจนสำเร็จได้ตั้งแต่เด็กยังเล็กๆ เช่น ปล่อยให้เด็กมีการเล่นอิสระ (Free Play) เด็กจะตั้งเป้าหมายของเขาเอง เช่น ตั้งใจจะต่อตัวต่อเป็นปราสาท จะปีนต้นไม้ให้ถึงกิ่งนั้นกิ่งนี้ การทำงานศิลปะอย่างอิสระ...

อ่านเพิ่มเติม

บทความ EF สำหรับครู และผู้ดูแลเด็ก

หลากหลายชุดเอกสารความรู้เกี่ยวกับ EF ที่ถูกรวบรวมจากทุกเวทีวิชการ ถูกจัดรวบรวมในรูปแบบของไฟล์ pdf เพื่อให้ผู้ที่สนใจสามารถดาวน์ไว้เพื่อนำไปใช้ในการศึกษาต่อไป

เด็กวัยอนุบาลมีสมาธิจดจ่อแค่ไหน

เด็กวัยอนุบาลมีสมาธิจดจ่อแค่ไหน

เด็กเล็กๆ ยังไม่สามารถมีสมาธิจดจ่อกับอะไรได้ไม่นาน อย่างไรก็ตาม เด็กเล็กๆ วัยอนุบาลโดยธรรมชาติพัฒนาการแล้ว ก็พอจะมีสมาธิจดจ่อได้บ้างระดับหนึ่ง แน่นอนว่าเด็กเล็กๆ ยังไม่สามารถมีสมาธิจดจ่อกับอะไรได้ไม่นาน ซึ่งหากจะจับเด็กไปนั่งเรียนเขียนอ่านทันทีที่เข้าโรงเรียน...

อ่านเพิ่มเติม
วิธีเสริมสร้างสมาธิจดจ่อให้เด็กทำงานสำเร็จ

วิธีเสริมสร้างสมาธิจดจ่อให้เด็กทำงานสำเร็จ

วิธีเสริมสร้างสมาธิจดจ่อให้ลูกวัยอนุบาล เพื่อเตรียมความพร้อมในการเรียนรู้และทำงานสำเร็จ คุณครูสามารถฝึกเด็กวัยอนุบาลให้มีสมาธิจดจ่อ มีความตั้งใจทำอะไรจนสำเร็จได้ ด้วยวิธีต่อไปนี้ - ไม่เข้าไปรบกวน เข้าไปช่วย เวลาเด็กกำลังตั้งใจทำอะไรหรือง่วนเพลินอยู่...

อ่านเพิ่มเติม
ปฐมวัย วัยทองของการพัฒนาทักษะ EF

ปฐมวัย วัยทองของการพัฒนาทักษะ EF

ในช่วงปฐมวัย (แรกเกิด-6 ปี) เป็นวัยทองของการพัฒนาทักษะ EF ที่พ่อแม่และครูอนุบาลจะต้องช่วยเด็กในวัยนี้ให้พัฒนาทักษะ EF เพื่อให้เด็กมีความพร้อมกับการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้นต่อไป มีงานวิจัยจากการประเมินผลของโครงการ Chicago School Readiness ชี้ว่าทักษะ EF...

อ่านเพิ่มเติม
ข้อแนะนำที่พ่อแม่และครูควรใส่ใจ

ข้อแนะนำที่พ่อแม่และครูควรใส่ใจ

ในการพัฒนาทักษะ EF มีข้อแนะนำที่พ่อแม่และครูควรใส่ใจ ในการพัฒนาทักษะ EF มีข้อแนะนำที่พ่อแม่และครูควรใส่ใจ ดังต่อไปนี้ - ในการพัฒนาทักษะ EF อาศัยความเข้าใจ ความรักความเมตตา ความสม่ำเสมอของพ่อแม่ และครูเป็นพื้นฐาน - คุณครูต้องเอาใจใส่พัฒนาทักษะ EF ไปพร้อมๆ...

อ่านเพิ่มเติม
พัฒนาทักษะ EF ด้วยการเต้นแอโรบิก

พัฒนาทักษะ EF ด้วยการเต้นแอโรบิก

งานวิจัยที่พบว่า การฝึกออกกำลังกายแบบแอโรบิกเป็นกิจกรรมที่ให้ผลในการพัฒนา EF ทั้งในเด็ก วัยหนุ่มสาว และผู้สูงอายุ วารสาร Psychonomic Bulletin and Review ได้ตีพิมพ์บทความ “Benefits of Regular Aerobic Exercise for Executive Functioning in Healthy Populations” ชี้ว่า...

อ่านเพิ่มเติม
ข้อควรรู้ที่สำคัญในการพัฒนาทักษะ EF

ข้อควรรู้ที่สำคัญในการพัฒนาทักษะ EF

การศึกษาวิจัยกระบวนการพัฒนาทักษะ EF ในเด็กด้วยวิธีการต่างๆ  6 แบบ ได้แก่ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ร่วมกับเกมต่างๆ การออกกำลังกายแบบแอโรบิก ศิลปะการต่อสู้ การฝึกสมาธิ และวิธีการมอนเตสซอรี  พบประเด็นสำคัญในการพัฒนาทักษะ EF หลายประการ...

อ่านเพิ่มเติม
เทคนิคง่ายๆ ช่วยบริหารจัดการชีวิตให้ง่ายขึ้น

เทคนิคง่ายๆ ช่วยบริหารจัดการชีวิตให้ง่ายขึ้น

เทคนิคง่ายๆ ช่วยพัฒนาทักษะ EF สำหรับเด็กโตและผู้ใหญ่อย่างเช่น คุณพ่อคุณแม่และคุณครูก็นำไปใช้ได้ ซึ่งจะช่วยสร้างความจำ ช่วยจัดระบบความคิด กำกับควบคุมตนเอง บริหารเวลา และอื่นๆ มีเทคนิคง่ายๆ ช่วยพัฒนาทักษะ EF สำหรับเด็กโตและผู้ใหญ่อย่าง เช่น...

อ่านเพิ่มเติม
สมาธิสั้น แอลดี คือเด็กที่มี EF บกพร่อง

สมาธิสั้น แอลดี คือเด็กที่มี EF บกพร่อง

เด็กสมาธิสั้นและเด็กแอลดี เป็นเพราะมีความบกพร่องของสมองส่วน Executive Function นั่นเอง Thomas E. Brown นักจิตวิทยาชื่อดังจากมหาวิทยาลัยเยล พบว่า คนที่สมาธิสั้น (Attention Deficit Hyperactivity Disorder-ADHD)...

อ่านเพิ่มเติม
สัญญาณ เด็กความจำบกพร่อง

สัญญาณ เด็กความจำบกพร่อง

สังเกตดูว่าเด็กมีอาการของ Working Memory บกพร่องหรือไม่ การสังเกตพบแต่เนิ่นๆ ว่าเด็กมีปัญหาด้าน Working Memory จะทำให้แก้ไขได้ทัน รศ.ดร.นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล ได้อธิบายไว้ในนิตยสารรักลูกว่า...

อ่านเพิ่มเติม

Executive Functions

“เราเห็นว่าประสบการณ์ในช่วงปฐมวัย
มีความสำคัญเพียงไรต่อสิ่งที่จะเกิดขึ้นตามมาตลอดชีวิต
ทั้งเห็นสภาพแวดล้อมในช่วงปฐมวัยได้ฝังลงใน “สมองของเด็ก”
และเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสมองไปอย่างไร”

Andrew S. Garner, developingchild, havard.edu