โดย กัญญพรรณ แช่มชื่น | เม.ย. 5, 2022 | บทความแปล, สาระ EF
เด็กบางคนโชคร้ายไม่ได้รับโอกาสพัฒนา Self-Esteem จากพ่อแม่ในช่วงวัยเริ่มต้นของชีวิต ก็อาจมีโอกาสครั้งที่สองที่โรงเรียน นี่คือหลักการทั่วไปที่ควรคาดหวังได้ แต่ถ้าครูไม่เข้าใจเรื่องนี้ ก็อาจเป็นโชคร้ายที่ซ้ำสองของเด็กคนนั้น !!?? งานวิจัยมากมายยืนยันว่า...
โดย กัญญพรรณ แช่มชื่น | เม.ย. 5, 2022 | บทความแปล, สาระ EF
ปัจจัยที่เชื่อกันว่า ส่งผลให้คนเรามี Self-Esteem สูงหรือต่ำนั้นมีหลากหลายอย่างไม่น่าเชื่อ ว่ากันตั้งแต่กรรมพันธุ์; พ่อแม่เป็นคนที่มี Self-Esteem เป็นอย่างไร อาจถ่ายทอดต่อให้ลูกได้ อายุ; เด็กที่อายุน้อยกว่าเพื่อนในห้องมากๆ จนทำอะไรไม่ทันเพื่อน...
โดย กัญญพรรณ แช่มชื่น | เม.ย. 5, 2022 | บทความแปล, สาระ EF
วัฒนธรรมไทยดั้งเดิมเราอาจจะไม่คุ้นนักกับ Self-Esteem หรือการเห็นคุณค่าในตนเอง เพราะเรามักจะ “กลัวเด็กเหลิง” เข้าใจไปว่าถ้าเด็กเห็นคุณค่าในตนเองมาก จะหยิ่งยะโส ผู้ใหญ่ก็จะเอาไม่อยู่ กำกับควบคุมไม่ได้ หรือเด็กจะตัวตนสูงจนอยู่กับคนอื่นยาก ความเข้าใจนี้ผิดมหันต์...
โดย ปรารถนา หาญเมธี | มี.ค. 29, 2022 | บทความแปล, สาระ EF
ตระหนักในกฎแห่งการเรียนรู้ของสมอง ทันทีที่เด็กเกิดมา สิ่งที่เกิดขึ้นมาแรกสุกคือการพัฒนาระบบประสาทที่เกี่ยวกับการหายใจ การเต้นของหัวใจ การเคลื่อนไหว การมองเห็น และการได้ยินเสียง ทั้งนี้ทารกแรกเกิดจนถึงอายุหนึ่งขวบนั้นมีจำนวนเซลล์สมอง (Neurons)...
โดย ปรารถนา หาญเมธี | มี.ค. 29, 2022 | บทความแปล, สาระ EF
สามเสาหลัก : การเปลี่ยนผ่านของสมองส่วนอารมณ์สู่เหตุผล Howard Bath นักจิตวิทยาคลีนิกชาวออสเตรเลีย ผู้เขียนหนังสือร่วมกับ John Seita เรื่อง ‘The Three Pillars of Transforming Care: Trauma and resilience in the other 23 hours’ (2018).ได้อธิบายว่า ...
โดย ปรารถนา หาญเมธี | มี.ค. 29, 2022 | บทความแปล, สาระ EF
อะไรทำให้เราเป็น “ตัวเรา” ในทุกวันนี้ “เราเป็นคนอย่างที่เราเป็นเพราะสิ่งที่เราเรียนรู้และสิ่งที่เราจดจำได้” – We are who we are because of what we learn and what we remember. เป็นคำกล่าวของอีริค อาร์ เคนเดล (Eric R. Kandel)...