Best Practices

การนำองค์ความรู้ EF ไปใช้ในการสร้างสรรค์งานของศึกษานิเทศก์ และผู้บริหารสถานศึกษา

นางเอมอร รสเครือ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ จ.กาญจนบุรี (ข้าราชการเกษียณ)

แม้จะเกษียณราชการมา 10 ปีแล้ว ศน.เอมอรยังคงทำงานอยู่ในแวดวงการศึกษาปฐมวัยร่วมกับกลุ่มครูกลุ่มเล็กๆ ที่ทำงานด้วยใจ โดยไม่มีงบประมาณสนับสนุนด้วยความสนใจใคร่รู้เรื่องทักษะสมอง EF ศน.เอมอรเข้ารับการอบรมเรื่องทักษะสมอง EF กับสถาบัน RLG ที่ลำปาง...

อ่านเพิ่มเติม

นายพงษ์พันธุ์ ไชยบุญเรือง   ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สพป. เชียงราย เขต 4

ศน.พงษ์พันธุ์ ไชยบุญเรือง เริ่มสนใจเรื่องทักษะสมอง EF จากสื่อ (กล่องล้อมรัก) ที่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด(ป.ป.ส.)จัดมอบให้แจกตามโรงเรียน ต่อมาเข้ารับการอบรมเรื่อง EF กับสถาบัน RLG ที่จัดอบรมให้ครู...

อ่านเพิ่มเติม

นายวีระพงษ์ พิมพ์กลม ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลบะหว้า จ.สกลนคร

ผอ.วีระพงษ์ได้รู้จักเรื่องทักษะสมอง EF จากเพื่อนศึกษาธิการจังหวัดขอนแก่นซึ่งแนะนำให้เข้าอบรมเรื่องEF กับสถาบัน RLG  แล้วเห็นว่าเรื่อง EF มีความสำคัญมากสำหรับเด็กปฐมวัย เป็นองค์ความรู้ที่ลึกและกว้างกว่า IQ และ EQ จึงนำมาขยายผลที่โรงเรียน จัดอบรมครูในโรงเรียน...

อ่านเพิ่มเติม

Best Practice : การนำองค์ความรู้ EF ไปใช้ในการสร้างสรรค์งานของศึกษานิเทศก์ และผู้บริหารสถานศึกษา

การนำองค์ความรู้ EF ไปใช้ในการสร้างสรรค์งานของศึกษานิเทศก์ และผู้บริหารสถานศึกษา

 

ไม่พบผลลัพธ์

ไม่พบหน้าที่คุณค้นหา ลองปรับการค้นหาหรือใช้แผงควบคุมด้านบนเพื่อค้นหาโพสต์

Executive Functions

“เราเห็นว่าประสบการณ์ในช่วงปฐมวัย
มีความสำคัญเพียงไรต่อสิ่งที่จะเกิดขึ้นตามมาตลอดชีวิต
ทั้งเห็นสภาพแวดล้อมในช่วงปฐมวัยได้ฝังลงใน “สมองของเด็ก”
และเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสมองไปอย่างไร”

Andrew S. Garner, developingchild, havard.edu