Best Practices

การนำองค์ความรู้ EF ไปใช้ในการสร้างสรรค์งานของศึกษานิเทศก์ และผู้บริหารสถานศึกษา

นายจิตกร มาแก้ว ศึกษานิเทศก์ชำนาญการ สพป.ระยอง เขต 1

เดิม ศน.จิตกร มาแก้ว เป็นครูซึ่งได้รับการอบรมครูแกนนำ EF แล้วมาเป็นวิทยากร EF ต้นแบบของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) ให้ความรู้ EF แก่ครู ก.ในภาคตะวันออก อบรมครูปฐมวัยทั้งจังหวัด เมื่อมาเป็นศน. ก็เข้าร่วมการขับเคลื่อน EF...

อ่านเพิ่มเติม

นางบุญลักษณ์ อึ้งชัยพงษ์   ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สธจ. กำแพงเพชร

หลังจากได้รับการอบรมความรู้เรื่องทักษะสมองEFศน.บุญลักษณ์ก็สร้างคณะทำงานขับเคลื่อนEF จังหวัดกำแพงเพชรซึ่งประกอบด้วยบุคลากรที่ได้รับการอบรมความรู้ EF มาแล้วเช่นกัน เป็นคณะทำงานที่เข้มแข็ง มีความรู้ความเข้าใจ EF ร่วมกันขับเคลื่อน EF อย่างเข้มแข็ง กระตือรือร้น ...

อ่านเพิ่มเติม

นายพงษ์พันธุ์ ไชยบุญเรือง   ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สพป. เชียงราย เขต 4

ศน.พงษ์พันธุ์ ไชยบุญเรือง เริ่มสนใจเรื่องทักษะสมอง EF จากสื่อ (กล่องล้อมรัก) ที่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด(ป.ป.ส.)จัดมอบให้แจกตามโรงเรียน ต่อมาเข้ารับการอบรมเรื่อง EF กับสถาบัน RLG ที่จัดอบรมให้ครู...

อ่านเพิ่มเติม

Best Practice : การนำองค์ความรู้ EF ไปใช้ในการสร้างสรรค์งานของศึกษานิเทศก์ และผู้บริหารสถานศึกษา

การนำองค์ความรู้ EF ไปใช้ในการสร้างสรรค์งานของศึกษานิเทศก์ และผู้บริหารสถานศึกษา

 

ไม่พบผลลัพธ์

ไม่พบหน้าที่คุณค้นหา ลองปรับการค้นหาหรือใช้แผงควบคุมด้านบนเพื่อค้นหาโพสต์

Executive Functions

“เราเห็นว่าประสบการณ์ในช่วงปฐมวัย
มีความสำคัญเพียงไรต่อสิ่งที่จะเกิดขึ้นตามมาตลอดชีวิต
ทั้งเห็นสภาพแวดล้อมในช่วงปฐมวัยได้ฝังลงใน “สมองของเด็ก”
และเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสมองไปอย่างไร”

Andrew S. Garner, developingchild, havard.edu